Author name: Tangkao Lampang

Learning City, ข่าวสาร

Learning City Maehongson

Workshop ประเมินเมืองเพื่อสร้างการเรียนรู้เมืองแม่ฮ่องสอน 20 กุมภาพันธ์ 68 โครงการการพัฒนากลไกและพื้นที่เพื่อการพัฒนาเมืองเชิงเศรษฐกิจและสังคม โดยการประยุกต์ใช้แนวทางเมืองแห่งการเรียนรู้ในการจัดการเมืองในเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน โดย นาย กานต์ ประณีตศิลป์ กรรมการบริษัทแม่ฮ่องสอนพัฒนาเมือง จัดกิจกรรม Workshop ประเมินเมืองเพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาพื้นที่เมืองแม่ฮ่องสอน ร่วมกับเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน โดยมีตัวแทนพลเมืองเมืองแม่ฮ่องสอน 3 กลุ่มเข้าร่วม ได้แก่ […]

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All : เมืองศรีสะเกษ

4 โมเดลการพัฒนาที่อยู่อาศัยเมืองศรีสะเกษ จากการขับเคลื่อนโครงการฉากทัศน์การจัดการที่อยู่อาศัยเมืองและการแก้ไขปัญหาชุมชนบนที่ดินรัฐภายใต้บริบทความท้าทายของการพัฒนาเมืองในอนาคต: เทศบาลเมืองศรีสะเกษ โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เทศบาลเมืองศรีสะเกษ และการสนับสนุนจาก บพท.  คณะวิจัยร่วมกับเครือข่ายชุมชน และองค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้องได้นำเสนอแนวทางพัฒนาที่อยู่อาศัยเมืองศรีสะเกษไว้ 4 โมเดล(1) การอยู่บนที่ดินเดิมโดยประชาชนพิสูจน์สิทธิในการครอบครองที่ดิน(2) การใช้พื้นที่ดินเดิม โดยการจัดสรร พื้นที่และใหJชุมชนเดิมอยู่อาศัย (Land sharing) และท้องถิ่น

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All : การพัฒนาที่อยู่อาศัย “เมืองศรีสะเกษ”

ต่อพงศ์ จันทร์พวงผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองศรีสะเกษ “เทศบาลเมืองศรีสะเกษมีพื้นที่อยู่ทั้งหมดราวๆ 36 ตารางกิโลเมตร จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พบว่ากว่า 50% ของพื้นที่ทั้งหมดเป็นที่ของรัฐ ไม่ว่าจะอยู่ในการดูแลของทางเทศบาล ราชพัสดุ หรือการรถไฟ จากที่มีการประชุมหารือกับพี่น้องชาวชุมชนที่มีที่อยู่ในที่ดินของรัฐ ความต้องการก็จะมีอยู่ 2 แบบ คือ อยากรวมกันเช่าเป็นโฉนดชุมชน ไม่ก็ทำการเช่ารายแปลงด้วยตนเอง

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All Sisaket : มุมมองจากนักวิจัยเมืองศรีสะเกษ

เดชณรงค์ วันสันเทียะอาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปะศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษนักวิจัยร่วมโครงการ Housing for All Sisaket “จากมุมมองของผมนะ ธรรมชาติของคนทุกคน ใคร ๆ ก็อยากมีชีวิตที่ดี ไม่ลำบาก แต่ในกรณีของชาวบ้านที่นี่ (ชุมชนหนองหมู) ขอแค่จะมีชีวิตที่ดีไม่ลำบาก

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All Sisaket : เสียงจากชุมชนหัวนา

นันท์นภัส สวาสดิพันธ์ (ป้าดา)ประธานชุมชนหัวนา สาเหตุหลักของการเริ่มโครงการตรงนี้ เนื่องจาก หน่วยงานรัฐมีโครงการจะสร้างรถไฟทางคู่ขึ้นมา ก็เกิดปัญหาว่า ในพื้นที่ที่จะสร้างทางรถไฟ มันมากระทบกับพื้นที่อยู่อาศัยของชาวบ้านตรงนี้ ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะ เราจึงต้องมีการวางแผน เพื่อช่วยเหลือชาวบ้าน โดยอาจมีการปรับปรุงผังชุมชนใหม่เพื่อให้ชาวบ้านสามารถอยู่อาศัยในพื้นที่บริเวณนี้ต่อไปได้ จากการหารือกันของชาวบ้าน ทุกคนสรุปตรงกันว่าชาวบ้านจะขอเช่าพื้นที่นี้ระยะยาว โดยจะมีการทำเรื่องกลุ่มออมทรัพย์เพื่อที่อยู่อาศัย ส่วนหนึ่งเอามาช่วยจ่ายค่าเช่าที่ อีกส่วนออมทรัพย์ไว้เพื่อรื้อถอนและสร้างที่อยู่อาศัยใหม่ เราตั้งใจกันไว้ว่าจะวางแปลนชุมชนใหม่ เพื่อให้มีพื้นที่เป็นสัดส่วนชัดเจน

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All Sisaket : เสียงจากเครือข่ายชุมชนพัฒนาที่อยู่อาศัยเมืองศรีสะเกษ

นางรัชนี สายชนะ (พี่รัชนี)ประธานเครือข่ายชุมชนเมือง ในฐานะประธานเครือข่ายชุมชนเมือง เราทำหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อย ในพื้นที่นี้มานานแล้วค่ะ ในช่วงปี 2548 – 2554 เราก็ได้ทำโครงการ บ้านมั่นคง ช่วยเหลือไปทั้งหมด 8 ชุมชน 615 หลังคาเรือน ทั้งบ้านที่อยู่ในที่ดินเดิมและที่ดินใหม่ ให้ชาวบ้านได้ถือสิทธิ์อยู่อาศัยบนที่ดินอย่างถูกต้อง ในส่วนของชุมชนหัวนา

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All Sisaket : เสียงจากชุมชนคุ้มหนองหมู

นางนิตยา ประพงษ์เลิศ (เจ๊นิด)ผู้อยู่อาศัยในชุมชนคุ้มหนองหมู หากถามว่าชีวิตชาวบ้านชุมชนนี้อยู่กันอย่างไร ก็ต้องบอกว่าส่วนใหญ่พวกเราทำอาชีพรับจ้างทั่วไป ไม่ก็เก็บของเก่าขาย ตื่นเช้ามาก็ต้องรีบหุงหาอาหารกินกัน แล้วก็ออกจากบ้านไปทำงาน เย็น ๆ ค่ำ ๆ กลับเข้าบ้าน มีบ้างที่ไปจับปลาริมน้ำ หาผักนู้นนี่มาทำกินกันง่าย ๆ ประชากรในหมู่บ้าน มีเด็กวัยเรียนหลายสิบคน แต่โดยส่วนมากจะเป็นผู้สูงอายุ อายุจะอยู่ราว

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All Sisaket : เสียงจากชุมชนคุ้มหนองหมู

นิภาวรรณ ดรัสสกุล (พี่ปู)ผู้อยู่อาศัยในชุมชนคุ้มหนองหมู ชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่ตรงนี้ ทำงานแบบหาเช้ากินค่ำ โดยส่วนใหญ่แล้วยากจน ก็เลยได้แต่อยู่กันไปตามอัตภาพ ส่วนที่ไม่มีงานรับจ้างให้ทำ เขาก็จะออกไปหาปูหาปลา หากินกันตามแหล่งธรรมชาติ ทำให้ลำพังการดูแลครอบครัว ก็ลำบากพอตัวอยู่แล้ว ในชุมชนของเราก็ยังขาดแคลนเรื่องการพัฒนาด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆยิ่งในช่วงที่เกิดเหตุการณ์น้ำท่วม ยิ่งลำบากหนัก ทางหน่วยงานมีการแจ้งเตือนชาวบ้านให้เตรียมการรับมือล่วงหน้าก่อน เราช่วยกันเก็บของขึ้นที่สูง หน่วยงานก็เข้ามาช่วย แต่อย่างไรเราก็ได้รับผลกระทบอยู่ บ้านบางหลัง

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All Sisaket : เสียงจากชุมชนคุ้มหนองหมู

พะเยาว์ โสดาลี (พี่เยาว์)ประธานชุมชนคุ้มหนองหมูพื้นที่จัดสรรให้ย้ายมาอาศัย เมื่อมีการก่อสร้างมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ “ในปี พ.ศ. 2540 เราอาศัยกันอยู่ตรงที่สาธารณะประโยชน์ที่เรียกกันว่า ‘โนนบักบ้า’ ซึ่งมีชาวบ้านรวมกันประมาณ 200 หลังคาเรือน ซึ่งต่อมาทางการได้ประกาศจะสร้างมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษตรงที่เราอยู่ ชาวบ้านกว่า 170 ครัวเรือน จึงตกลงยินยอมที่จะย้ายบ้านมาอยู่ที่พื้นที่ตรงนี้ข้างๆ มหาวิทยาลัยฯ เป็นที่ตั้งชุมชนคุ้มหนองหมู ในปัจจุบัน

Housing For All, บทความที่น่าสนใจ

Housing for All Sisaket พัฒนาที่อาศัยสำหรับทุกคน เมืองศรีสะเกษ (ตอนที่ 1)

ปัญหาที่อยู่อาศัยในปัจจุบันไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในเมืองใหญ่อีกต่อไป ที่ศรีสะเกษ เมืองไม่เล็กไม่ใหญ่ก็กำลังประสบปัญหานี้เช่นกัน และในวันนี้ ทิศทางของการแก้ไขปัญหา และความร่วมมือของคนในเมืองกำลังไปได้ดีเรียกว่าเริ่มมองเห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ก็ว่าได้ The City Leaders จึงนำบทสัมภาษณ์ ดร.นิโรธ ศรีมันตะ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หัวหน้าโครงการฉากทัศน์การจัดการที่อยู่อาศัยเมืองและการแก้ไขปัญหาชุมชนบนที่ดินรัฐภายใต้บริบทความท้าทายของการพัฒนาเมืองในอนาคต: เทศบาลเมืองศรีสะเกษ (Housing for All) มาให้ทุกท่านติดตามความก้าวหน้า