Author name: Samart

Livable City, งานวิจัย

พัฒนาอาชีพบนฐานพืชพลังงานสู่ BCG จังหวัดสระบุรี  

[ งานวิจัย Smart City  ปี2566-67]  โครงการการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนผ่านการพัฒนาเมืองน่าอยู่และชาญฉลาด: สระบุรี ต้นแบบความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมในการสร้างงานในพื้นที่ผ่านการพัฒนาอาชีพบนฐานพืชพลังงานสู่BCG จังหวัดสระบุรี โดย คุณวรณัน ดีล้อม, บริษัท เฟิร์ส เอเนอร์ยี่ คอร์ป จำกัด ผลผลิตโครงการเริ่มต้นจากเกษตรกรท้องถิ่นที่ร่วมมือร่วมใจเข้าร่วมโครงการต้นแบบเพื่อสร้างงานผ่านการเพาะปลูกพืชพลังงานซึ่งกลายเป็นแหล่งรายได้สำหรับชุมชนท้องถิ่นได้จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้พืชพลังงานเป็นศูนย์การเรียนรู้สำหรับผู้ที่สนใจปลูกและผลิตพืชพลังงานโดยอนุญาตให้แลกเปลี่ยนความรู้และการแบ่งปันความคิดเห็น พร้อมทั้งศูนย์การเรียนรู้พืชพลังงานยังถูกใช้ในการทดลองและเพาะท่อนพันธุ์ของหญ้าเนเปียร์ในราคาที่คุ้มค่า และเกิดผลลัพธ์ของการจัดตั้งกิจการเพื่อสังคมเพื่อขยายผล BCG Model “บริษัท เฟิร์ส […]

Livable City, งานวิจัย

การยกระดับเมืองน่าอยู่และชาญฉลาดผ่านการพัฒนากลไกการทำงานและฐานข้อมูล :  คลองผดุงกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร  

[ งานวิจัย Smart City  ปี2566-67]  โครงการการยกระดับเมืองน่าอยู่และชาญฉลาดผ่านการพัฒนากลไกการทำงานและฐานข้อมูล :  คลองผดุงกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร  การยกระดับเมืองอัจฉริยะ และเมืองน่าอยู่ผ่านการพัฒนาฐานข้อมูลเมือง นโยบาย และกลไกการทำงานระดับพื้นที่ กรณีศึกษา คลองผดุงกรุงเกษม โดย คุณยุพิน ไชยสมภาร วัตถุประสงค์1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลเมืองในการวิเคราะห์ประเด็นปัญหา และการออกแบบนโยบายสาธารณะ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาการใช้ข้อมูลในเมืองอัจฉริยะและเมืองน่าอยู่ 2. การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอบรม เพื่อสนับสนุนการทำงาน ด้านการจัดการปัญหาเชิงพื้นที่ การบริการ

Livable City, งานวิจัย

ยกระดับเมืองน่าอยู่และชาญฉลาดผ่านการพัฒนากลไกการทำงานและฐานข้อมูล ภายใต้การบริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา 

[ งานวิจัย Smart City  ปี2566-67]  โครงการการยกระดับเมืองน่าอยู่และชาญฉลาดผ่านการพัฒนากลไกการทำงานและฐานข้อมูลการยกระดับกลไกการบริหารจัดการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ภายใต้การบริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา (อบจ.)  โดยผศ.ดร.สมคิด จู้หว้าม, มหาวิทยาลัยพะเยา วัตถุประสงค์1. เพื่อศึกษาข้อมูลสารสนเทศของข้อมูลสาธารณสุข (43 แฟ้ม) และแนวทางการบริการและบริหารทางด้านสาธารณสุข ภายใต้การดำเนินงานของ อบจ .พะเยา.2. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการข้อมูลทางด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ รพ.สต.

Livable City, งานวิจัย

ยกระดับเมืองน่าอยู่และชาญฉลาดผ่านการพัฒนากลไกการทำงานและฐานข้อมูล : เมืองมหาสารคาม

[ งานวิจัย Smart City  ปี2566-67]  โครงการการยกระดับเมืองน่าอยู่และชาญฉลาดผ่านการพัฒนากลไกการทำงานและฐานข้อมูล : เมืองมหาสารคาม การพัฒนากรอบแนวทางบูรณากาข้อมูลภาครัฐสู่การปลดล็อกศักยภาพข้อมูล โดย ผศ.ดร.มณีรัตน์ วงษ์ซิ้ม, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วัตถุประสงค์1. เพื่อสังเคราะห์แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐอย่างมีส่วนร่วมสู่การปลดล็อกศักยภาพข้อมูล2. เพื่อเป็นกรอบแนวทางการขับเคลื่อนข้อมูลเปิดภาครัฐตอบสนองข้อมูลในการบริหารราชการแผ่นดินและงานบริการประชาชน3. เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นและปัจจัยอิทธิพลที่เกี่ยวกับการพัฒนากรอบแนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐสู่การปลดล็อกศักยภาพข้อมูลในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามและนครสวรรค์ ผลผลิต1. กำลังคน ที่ได้รับการพัฒนาทักษะ 200 คน2. เครือข่าย

Livable City, งานวิจัย

ต้นแบบการพัฒนาเมืองน่าอยู่และชาญฉลาด : เชียงใหม่

[ งานวิจัย Smart City  ปี2566-67]  โครงการต้นแบบการพัฒนาเมืองน่าอยู่และชาญฉลาด : เชียงใหม่ โดย ผศ.ดร.จุฑาทิพย์ เฉลิมผล, สำนักงานบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัตถุประสงค์1.เพื่อศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการจัดการขนส่งและจราจรอัจฉริยะในพื้นที่ถนนนิมมานเหมินท์เพื่อความปลอดภัยและกระตุ้นเศรษฐกิจ2.ปฏิบัติการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่แม่ข่าและลำน้ำสาขาจากทุกภาคส่วน3.เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์เครือข่ายพัฒนาเมืองโดยพัฒนาแผนความร่วมมือ แผนการบริหารเครือข่าย และการจัดการระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ ผลผลิต1.ข้อมูลและผลการวิเคราะห์ด้านการขนส่งและจราจรในพื้นที่นิมมานเหมินท์2.แผนอัจฉริยะด้านการขนส่งและจราจร ซึ่งมีข้อมูลเรื่องบริการบอกจุดจอดรถสำหรับประชาชน บริการแจ้งเส้นทางการเดินรถสำหรับประชาชน

Livable City, งานวิจัย

เมืองโคราชด้านบริการสาธารณะและเศรษฐกิจดิจิทัล สู่ความเป็นเมืองศูนย์กลางที่น่าอยู่และชาญฉลาด

[ งานวิจัย Smart City  ปี2566-67]  โครงการต้นแบบการพัฒนาเมืองน่าอยู่และชาญฉลาด : นครราชสีมา ต้นแบบกลไกสร้างแผนพัฒนาเมืองโคราชด้านบริการสาธารณะและเศรษฐกิจดิจิทัล สู่ความเป็นเมืองศูนย์กลางที่น่าอยู่และชาญฉลาด โดย ดร.สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ, มหาวิทาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา วัตถุประสงค์1.เพื่อพัฒนาและยกระดับระบบการจัดการข้อมูลเมืองโคราชสู่เมืองที่น่าอยู่และชาญฉลาด2.เพื่อพัฒนาและยกระดับบริการสาธารณะด้านคมนาคมขนส่งภายในเมืองโคราช 3.เพื่อพัฒนาต้นแบบกลไกเศรษฐกิจดิจิทัลด้านบริการสาธารณะของเมืองโคราช โครงการที่ 1 การพัฒนาและยกระดับระบบการจัดการข้อมูลเมืองโคราชสู่เมืองที่น่าอยู่และชาญฉลาด จะได้ผลผลิตโครงการวิจัย

Livable City, งานวิจัย

ระบบการสื่อสารและสร้างนักพัฒนา “มาย ซิตี้” 

[ งานวิจัย Smart City  ปี2566-67]  โครงการการพัฒนาระบบแพลตฟอร์มดิจิทัล และ บุคลากรผู้ขับเคลื่อนเมืองน่าอยู่และ ชาญฉลาดที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง : ระบบการสื่อสารและสร้างนักพัฒนา “มาย ซิตี้” โดย คุณพรชัย เอี่ยมสุกใส, บริษัท สยาม อินโน ซีตี้ จำกัด

Learning City, งานวิจัย

โครงการทะเลสาบสงขลานิเวศแห่งการเรียนรู้สู่มรดกโลก

[ งานวิจัย Learning City ปี2566-67]  โครงการทะเลสาบสงขลานิเวศแห่งการเรียนรู้สู่มรดกโลกปากพูน โดย นางสาววิจิตรา อมรวิริยะชัย, มหาวิทยาลัยทักษิณ วัตถุประสงค์1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ทะเลสาบสงขลาในพื้นที่เมืองปากพะยูนบนฐานชุมชนด้วยการเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่นในรูปแบบออนไซต์และออนไลน์สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะคนในกลุ่มชาวประมง นักเรียน และผู้ประกอบการ 2. เพื่อยกระดับการจัดการพื้นที่การเรียนรู้ด้วยกลไกตลาดกลางสัตว์น้ำชุมชนสร้างแบรนด์เมือง “คนเลสาบเมืองปากพะยูน” สู่เศรษฐกิจเกื้อกูลเชิงสร้างสรรค์3. เพื่อยกระดับการจัดการทะเลสาบสงขลาด้วยกลไกคณะกรรมการสภาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาขับเคลื่อนธรรมนูญทะเลสาบสงขลาเข้าสู่แผนยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุงและแผนพัฒนาทะเลสาบสงขลาภาคประชาชน ผลผลิต1. Local Study Local

Learning City, งานวิจัย

ปากพูนวิชชาลัย : ขับเคลื่อนเมืองปากพูนเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City) สู่เครือข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้ของ UNESCCO

[ งานวิจัย Learning City ปี2566-67]  โครงการปากพูนวิชชาลัย : การยกระดับและขับเคลื่อน เมืองปากพูนเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City) สู่เครือข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้ของ UNESCO โดย ผศ.ดร.ดำรงศ์พันธ์ ใจห้าววีระพงศ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วัตถุประสงค์1. ยกระดับและขับเคลื่อนเมืองปากพูนเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ ตามแนวคิดคิดเมืองแห่งการเรียนรู้ของยูเนสโก (UNESCO)2. เพื่อสร้างนิเวศการเรียนรู้ของเมือง (City Learning

Learning City, งานวิจัย

เขตโขงนคร: กลไกความร่วมมือเพื่อยกระดับพื้นที่แห่งการเรียนรู้และเศรษฐกิจสร้างสรรค์

[ งานวิจัย Learning City ปี2566-67]  โครงการ เขตโขงนคร: กลไกความร่วมมือเพื่อยกระดับพื้นที่แห่งการเรียนรู้และเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดย ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา, มหาวิทยาลัยนครพนม วัตถุประสงค์1. เพื่อยกระดับทุนของเมืองสู่พิพิธภัณฑ์มีชีวิตเพื่อส่งเสริมเมืองแห่งการเรียนรู้และสร้างเศรษฐกิจ2. เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ทักษะดิจิทัลสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ธุรกิจชุมชนและกิจกรรมท่องเที่ยวริมแม่น้ำโขง3.  สังเคราะห์กิจกรรมเรียนรู้ต้นแบบและความเป็นไปได้ในการพัฒนาและออกแบบยุทธศาสตร์และนโยบายสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาเทศบาลเมืองนครพนมให้เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้4. เพื่อประเมินผลกระทบทางสังคม (SROI) ผลผลิต1. แผนที่ทุนทางวัฒนธรรมย่านชุมชนเก่าริมฝั่งโขงนครพนม2. คู่มือการเรียนรู้3. รูปแบบการสร้างทักษะดิจิทัลของผู้ประกอบการริมแม่น้ำโขง4. พื้นที่เรียนรู้ต้นแบบการจัดการขยะบุญ พื้นที่เรียนรู้/ระบบนิเวศเรียนรู้ 1.