[ งานวิจัย Learning City ปี2566-67]
การพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจด้วยสถาปัตยวัฒนธรรมผ่านพื้นที่การเรียนรู้เมืองเก่ายะลา โดย ดร.นิมารูนี หะยีวาเงาะ, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนากลไกการทำงานเมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในการยกระดับเศรษฐกิจด้วยสถาปัตยวัฒนธรรมผ่านพื้นที่การเรียนรู้เมืองเก่ายะลา
2. เพื่อพัฒนานักจัดการเรียนรู้เมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในการยกระดับเศรษฐกิจด้วยสถาปัตยวัฒนธรรมผ่านพื้นที่การเรียนรู้เมืองเก่ายะลา
3. เพื่อสร้างนิเวศการเรียนรู้เมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในการยกระดับเศรษฐกิจด้วยสถาปัตยวัฒนธรรมผ่านพื้นที่การเรียนรู้เมืองเก่ายะลา
ผลผลิต
1. องค์ความรู้ชุดข้อมูลเกี่ยวกับอาหาร อาคาร อาภรณ์
2. หลักสูตรอาชีพทางเลือกใหม่ ชุดข้อมูลผลิตภัณฑ์อาภรณ์ แผนธุรกิจ
3. แบรนด์ใหม่ที่แสดงถึงสถาปัตยกรรมวัฒนธรรมเมืองยะลา
4. ชุดข้อมูลการจัดการพื้นที่การเรียนรู้ (Co-Learning Space)
5. แผนส่งเสริมภาพลักษณ์ของพื้นที่การเรียนรู้ (Co-Learning Space)
6. นักจัดการเรียนรู้ LEARN เมืองยะลา
พื้นที่เรียนรู้/ระบบนิเวศเรียนรู้
เส้นทางของพื้นที่การเรียนรู้อาหาร อาคาร อาภรณ์ จากถนนรถไฟ – ซอยตรอกซุป – ตลาดมะพร้าว – บ้านครูอำพัน – อัสมาบาติก – โรงเรียนเทศบาล 5 – สะพานดำ
ฐานการเรียนรู้
– ฐานเรียนรู้อาหารบ้านครูอำพัน
– ฐานเรียนรู้เรื่องผ้าอัสมาบาติก
– ฐานเรียนรู้สถานีรถไฟยะลา

กลไกการขับเคลื่อน
ปัจจัยนำเข้า
1.องค์ความรู้ -อาหาร,อาคาร,อาภรณ์
2.เส้นทางการเรียนรู้
2.1 เส้นทางที่ 1 ( เส้นทางที่ใช้ทุน กายภาพเดิม) เส้นทางจากจาก ถนนรถไฟ-ซอยตรอกซุป-ถนนปราจิณ-ถนนยะลา-ธนนไชยจรัส- ถนนพุทธภูมิวิถี-ถนนสิโรรส-ถนนนวลสกุล-ถนนกรุงแสง-พิพิธภัณฑ์ผังเมืองยะลา
2.2 เส้นทางที่ 2 (เส้นทางที่รวบรวมองค์ความรู้ใหม่)ถนนรถไฟ-ซอยตรอกซุป-ตลาดมะพร้าว-บ้านครูอำพัน-อัสมาบาติก-โรงเรียนเทศบาล 5-สะพานดำ
3. พื้นที่การเรียนรู้
– ฐานเรียนรู้เรื่องอาหารบ้านครูอำพัน
– ฐานเรียนรู้เรื่องผ้าอัสมาบาติก
– ฐานเรียนรู้สถานีรถไฟยะลา
4. นักจัดการเรียนรู้
– มีทักษะในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
– มีทักษะการเป็นนวัตกร
– มีทักษะการเป็นโค้ชและพี่เลี้ยง
– มีความคิดแบบเติบโต มีความรู้ ลุ่มลึก
ปัจจัยดำเนินการ
กิจกรรมการเรียนรู้
– เดินเมือง เดินเรื่อง เดินเล่า
– เทคนิคนักจัด กระบวนการเรียนรู้ learn เมือง
– พัฒนาทักษะการปักฉลุ การทำแผนธุรกิจ
– พื้นที่เรา
– ค้นคนเก่า
– เปิดหลาดเก่า
– นิทรรศการผลงานเยาวชน learn เมือง
การบริหารจัดการเมืองแห่งการเรียนรู้
– เทศบาลนครยะลา
– มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
– สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดยะลา
– สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดยะลา
– หอจดหมายเหตุจังหวัดยะลา
– สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานที่ 24 จังหวัดยะลา
– สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดยะลา
ปัจจัยผลผลิต
– เกิดหลักสูตรระยะสั้นตามความต้องการของชุมชน
– เกิดอาชีพใหม่ของชุมชน
– เกิดพื้นที่การเรียนรู้ใหม่ฐานข้อมูลสถาปัตยวัฒนธรรม
– เกิดพื้นที่การเรียนรู้ใหม่ภาพสีโปสเตอร์ผนังสตรีทอาร์ตเมืองยะลา
– เกิดพื้นที่การเรียนรู้ใหม่ บ้านครูอำพัน อัสมาบาติก สถานีรถไฟยะลา
– เกิดการรวมกลุ่มของเยาวชนเพื่อพัฒนาอาชีพติด

ติดต่อผู้ดำเนินโครงการ
คณะวิทยายการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
https://fms.yru.ac.th/bizcomp/