[ งานวิจัย Smart City ปี2566-67]
โครงการการยกระดับเมืองน่าอยู่และชาญฉลาดผ่านการพัฒนากลไกการทำงานและฐานข้อมูล : คลองผดุงกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร การยกระดับเมืองอัจฉริยะ และเมืองน่าอยู่ผ่านการพัฒนาฐานข้อมูลเมือง นโยบาย และกลไกการทำงานระดับพื้นที่ กรณีศึกษา คลองผดุงกรุงเกษม โดย คุณยุพิน ไชยสมภาร
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลเมืองในการวิเคราะห์ประเด็นปัญหา และการออกแบบนโยบายสาธารณะ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาการใช้ข้อมูลในเมืองอัจฉริยะและเมืองน่าอยู่
2. การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอบรม เพื่อสนับสนุนการทำงาน ด้านการจัดการปัญหาเชิงพื้นที่ การบริการ และการสื่อสารนโยบายเพื่อนำไปสู่ขับเคลื่อนและยกระดับเมืองอัจฉริยะ และเมืองน่าอยู่
3. การออกแบบและจัดทำดัชนีตัวชี้วัดประเมินผลความสำเร็จของโครงการ การยกระดับเมืองอัจฉริยะ และเมืองน่าอยู่ผ่านการพัฒนาฐานข้อมูลเมือง นโยบาย และกลไกการทำงานระดับพื้นที่ กรณีศึกษา คลองผดุงกรุงเกษม
ผลผลิต
การพัฒนาฐานข้อมูลเมือง
1. ออกแบบธรรมาภิบาลข้อมูล และสถาปัตยกรรมข้อมูลที่เหมาะสมผ่านการจัดเวทีแสดงความคิดเห็นกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องด้านข้อมูล
2. การส่งเสริมศักยภาพในการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ และภาคประชาสังคม
3. หลักสูตร Training for Trainer เพื่อส่งเสริมศักยภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐ ผ่านการใช้ข้อมูลเป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง
4. เจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Training for Trainer
5. คู่มือ City Data การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองด้วยข้อมูล
6. Global Urban Monitoring Framework (UMF) สำหรับกรุงเทพมหานคร
7. คู่มือการใช้งาน และการวิเคราะห์ดัชนี UMF
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
สร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนผ่านข้อมูลชุมชน
1. ขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนโดยข้อมูลด้วยแนวคิด Participatory Budgeting (PB) ในการเขียนโครงการพัฒนาชุมชนเช่น โครงการชุมชนเข้มแข็งกรุงเทพมหานคร กองทุนสุขภาวะ สปสช
2. ส่งเสริมความสำคัญของข้อมูลภายในชุมชน ผ่านการนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาและขับเคลื่อนชุมชนด้วยการสำรวจข้อมูลและการทำแผนที่เดินดิน
3. ออกแบบเครื่องมือการเก็บข้อมูล ซึ่งประกอบไปด้วยแผนที่เดินดินเป็นเครื่องมือสำรวจและเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ และใช้แอพพลิเคชั่น KOBO Toolbox ในการเก็บข้อมูลเชิงสังคมภายในชุมชน
4. จัดทำแผนที่เดินดินเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานภายในชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมหลักเป็นผู้ที่อยู่อาศัยภายในชุมชน
5. เชื่อมโยงข้อมูลภายในชุมชนร่วมกับภาครัฐ เช่นสำนักงานเขต ในการพัฒนาชุมชนผ่านแพลตฟอร์มฐานข้อมูลเมือง
กระบวนการยกระดับกลไกและฐานข้อมูล
ออกแบบธรรมาภิบาลข้อมูล และสถาปัตยกรรมข้อมูล, ออกแบบผ่านข้อเสนอแนะ และประเด็นปัญหาในการทำงานด้านข้อมูลของกรุงเทพมหานคร
ออกแบบธรรมาภิบาลข้อมูล และสถาปัตยกรรมข้อมูล
กระบวนการยกระดับกลไกและฐานข้อมูล
สร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนผ่านข้อมูลชุมชน
ส่งเสริมศักยภาพในการทำงานด้านข้อมูล
- พัฒนาหลักสูตรในการอบรม Training for Trainer ที่มีกรอบในการออกแบบมาจากประเด็นปัญหาในการทำงานด้านข้อมูลทั้งจากระดับสำนัก และระดับสำนักงานเขต ของกรุงเทพมหานคร
- อบรมหลักสูตร Training for Trainer ให้แก่เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ในระดับ 2 ระดับ (ระดับสำนัก และระดับสำนักงานเขต)
พัฒนาแพลตฟอร์มฐานข้อมูล Urban Common source
ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐในระดับพื้นที่ ประกอบไปด้วย Functionการนำเข้าและจัดเก็บข้อมูล การแสดงผล/วิเคราะห์ข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูลสู่ฐานข้อมูลเปิด
กระบวนการจัดเก็บและนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาเมือง
- กระบวนการจัดทำแผนที่เดินดิน โดยมีสมาชิกที่อยู่ภายในชุมชนเป็นผู้เข้าร่วมในการออกแบบและทำการสำรวจ
- นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจแผนที่เดินดินมาเขียนข้อเสนอโครงการที่เหมาะสมและตรงตามความต้องการของชุมชน เช่น งบประมาณชุมชนเข้มแข็งของ กทม ผ่านกระบวนการ การจัดสรรงบประมาณแบบมีส่วนร่วมภายในชุมชน PB
ส่งเสริมศักยภาพในการทำงานด้านข้อมูล
- พัฒนาหลักสูตรในการอบรม Training for Trainer ที่มีกรอบในการออกแบบมาจากประเด็นปัญหาในการทำงานด้านข้อมูลทั้งจากระดับสำนัก และระดับสำนักงานเขต ของกรุงเทพมหานคร
- อบรมหลักสูตร Training for Trainer ให้แก่เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ในระดับ 2 ระดับ (ระดับสำนัก และระดับสำนักงานเขต)
พัฒนาแพลตฟอร์มฐานข้อมูล Urban Common source
ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐในระดับพื้นที่ ประกอบไปด้วย Functionการนำเข้าและจัดเก็บข้อมูล การแสดงผล/วิเคราะห์ข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูลสู่ฐานข้อมูลเปิด
กระบวนการจัดเก็บและนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาเมือง
- กระบวนการจัดทำแผนที่เดินดิน โดยมีสมาชิกที่อยู่ภายในชุมชนเป็นผู้เข้าร่วมในการออกแบบและทำการสำรวจ
- นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจแผนที่เดินดินมาเขียนข้อเสนอโครงการที่เหมาะสมและตรงตามความต้องการของชุมชน เช่น งบประมาณชุมชนเข้มแข็งของ กทม ผ่านกระบวนการ การจัดสรรงบประมาณแบบมีส่วนร่วมภายในชุมชน PB
ดัชนีชี้วัดเมืองน่าอยู่ Global Monitoring framework UMF
พัฒนาดัชนีชี้วัดเมืองน่าอยู่ UMF ของกรุงเทพมหานคร
เชื่อมโยงดัชนีเมืองน่าอยู่กับนโยบายของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนการทำงานของเจ้าหน้าที่ด้วยดัชนีเมืองน่าอยู่
- พัฒนาหลักสูตรในการอบรม Training for Trainer ที่มีกรอบในการออกแบบมาจากประเด็นปัญหาในการทำงานด้านข้อมูลทั้งจากระดับสำนัก และระดับสำนักงานเขต ของกรุงเทพมหานคร
- อบรมหลักสูตร Training for Trainer ให้แก่เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ในระดับ 2 ระดับ (ระดับสำนัก และระดับสำนักงานเขต)
พัฒนาแพลตฟอร์มฐานข้อมูล Urban Common sourceฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐในระดับพื้นที่ ประกอบไปด้วย Functionการนำเข้าและจัดเก็บข้อมูล การแสดงผล/วิเคราะห์ข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูลสู่ฐานข้อมูลเปิด กระบวนการจัดเก็บและนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาเมือง
- กระบวนการจัดทำแผนที่เดินดิน โดยมีสมาชิกที่อยู่ภายในชุมชนเป็นผู้เข้าร่วมในการออกแบบและทำการสำรวจ
- นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจแผนที่เดินดินมาเขียนข้อเสนอโครงการที่เหมาะสมและตรงตามความต้องการของชุมชน เช่น งบประมาณชุมชนเข้มแข็งของ กทม ผ่านกระบวนการ การจัดสรรงบประมาณแบบมีส่วนร่วมภายในชุมชน PB
ดัชนีชี้วัดเมืองน่าอยู่ Global Monitoring framework UMF
พัฒนาดัชนีชี้วัดเมืองน่าอยู่ UMF ของกรุงเทพมหานคร
เชื่อมโยงดัชนีเมืองน่าอยู่กับนโยบายของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนการทำงานของเจ้าหน้าที่ด้วยดัชนีเมืองน่าอยู่

ติดต่อผู้ดำเนินโครงการ
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
http://www.ph.up.ac.th